วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บทที่ 10 โปรแกรม Ulead Video Studio


การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรม
Ulead VideoStudio


         ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตกล้องวีดีโอได้พัฒนาก้าวหน้าจนกลายมาเป็นกล้องวีดีโอแบบดิจิตอล

เป็นส่วนใหญ่ ผู้ใช้ส่วนใหญ่จึงหันมาใช้งานกล้องประเภทนี้กันมาก เนื่องจากมีราคาถูก ขนาด
กระทัดรัด และสะดวกต่อการถ่ายโอนภาพวีดีโอเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ทำให้โปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อ
และสร้างผลงานของวีดีโอมีมากขึ้น โดยโปรแกรม Ulead VideoStudio นั้น มีความสามารถที่หลากหลาย
เหมาะสำหรับการตัดต่อวีดีโอด้วยตนเองที่ไม่ซับซ้อน มีการแบ่งแยกขั้นตอนการทำงานอย่างชัดเจน
ตั้งแต่การดึงไฟล์วีดีโอออกจากกล้องวีดีโอ ไปจนถึงการตัดต่อและปรับแต่งวีดีโอ ซึ่งผลงานที่สร้างสามารถ
นำไปเขียนลงแผ่น VCD หรือ DVD แปลงเป็นไฟล์รูปแบบต่างๆ ได้ตามต้องการ
Ulead VideoStudio เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดีโอที่มีจุดเด่นในเรื่องการใช้งานที่ง่าย ไม่ยุ่งยาก
ซับซ้อน เนื่องจากโปรแกรมถูกออกแบบมาให้มีลำดับการทำงานที่เป็นขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบออก
มาเป็นแผ่น VCD หรือ DVD โดยมีขั้นตอนหลัก 7 ขั้นตอนดังนี้
1. Capture เป็นขั้นตอนของการจับภาพวีดีโอเข้ามาในเครื่อง ไม่ว่าจะเป็นการจับภาพจากกล้อง
ดิจิตอลวีดีโอผ่านการ์ด Fire Wire จับภาพจากกล้องอะนาล็อกวีดีโอผ่าน Capture Card หรือจะเป็น
การจับภาพผ่านกล้อง Web Cam ที่ต่อผ่าน USB Port (ถ้าไม่ต้องการนำภาพวีดีโอจากภายนอกเข้ามา
ใช้งานหรือมีไฟล์วีดีโออยู่แล้ว สามารถข้ามขั้นตอนนี้ได้)
2. Edit โปรแกรมจะให้ผู้ใช้ตัดต่อวีดีโอ รวมถึงการเรียงลำดับคลิปต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ
3. Effect เป็นขั้นตอนที่ผู้ใช้สามารถใส่ Effect ต่างๆ โดยคลิกเลือก Effect ที่จะใช้และ
ลากเอามาวางบนภาพ
4. Overlay โปรแกรมจะให้ผู้ใช้จัดการเกี่ยวกับ Overlay Track ซึ่งเป็นการซ้อนภาพเข้าด้วยกัน
*นักวิชาการอุดมศึกษา กลุ่มงานพัฒนาและเผยแพร่นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
วิษณุ เพชรประวัติ*
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
65
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
5. Title โปรแกรมจะให้ผู้ใช้ใส่ข้อความต่างๆ โดยการเลือกฉากที่ต้องการแล้วพิมพ์ข้อความ
ลงไป ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกใช้ Effect ตัวอักษรแบบต่างๆ ได้
6. Audio โปรแกรมจะให้ผู้ใช้จัดการเรื่องเสียงที่จะใส่ลงในวีดีโอในขั้นตอนนี้
7. Share เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการตัดต่อ ซึ่งโปรแกรมสามารถเขียนวีดีโอที่ผู้ใช้ตัดต่อให้ออก
มาเป็นไฟล์วีดีโอ เป็นแผ่น VCD หรือ แผ่น DVD ได้
นอกจากขั้นตอนต่างๆ ข้างต้นแล้ว โปรแกรม ยังมีคุณสมบัติเด่นให้ผู้ใช้สามารถสร้างและ
ออกแบบเมนูของ VCD หรือ DVD ได้ในตัว ในที่นี้จะกล่าวถึงการสร้าง VDO ภาพหรือ การทำวีดีโอ
โชว์ด้วย Ulead VideoStudio11 เป็นตัวอย่าง
ภาพที่ 1
1. เมื่อติดตั้งโปรแกรมแล้วก็เปิดการใช้งาน ดังภาพที่ 2
ภาพที่ 2
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
66
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
2. เลือกที่ VideoStudio Editor เพื่อสร้างไฟล์วีดีโอ ดังภาพที่ 3
ภาพที่ 3
3. ลักษณะโปรแกรมขณะใช้งาน ดังภาพที่ 4
ภาพที่ 4
4. รูปแบบการปรับแต่งไฟล์วิดีโอ ดังภาพที่ 5
ภาพที่ 5
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
67
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
5. จากนั้นให้ Right Click ที่ช่องแนบไฟล์ เพื่อเลือกไฟล์ภาพ หรือวีดีโอ ดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6
6. เลือกไฟล์ที่ต้องการใส่ในวีดีโอ สามารถลากเมาส์เพื่อเลือกทีละมากกว่าหนึ่งไฟล์ จากนั้นกด
Open ดังภาพที่ 7
ภาพที่ 7
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
68
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
7. หากต้องการใส่เพลงให้กับวีดีโอ ให้ Right Click แล้วเลือกแนบไฟล์ Audio ดังภาพที่ 8
ภาพที่ 8
8. เลือกเพลงที่ต้องการ แล้วกด Open ดังภาพที่ 9
ภาพที่ 9
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
69
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
9. ก็จะได้ ดังภาพที่10
ภาพที่ 10
10. เซฟไฟล์งานเป็นระยะๆ เพื่อว่าหากมีข้อขัดข้อง โปรแกรมไม่ทำงานก็สามารถเรียกงาน
เดิมกลับมาทำใหม่ได้ โดยไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ ดังภาพที่ 11
ภาพที่ 11
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
70
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
11. ไฟล์ที่ได้ จะเป็นนามสกุล .VSP เป็นไฟล์งานของโปรแกรม Ulead ดังภาพที่12
ภาพที่ 12
12. นอกจากไฟล์ภาพแล้ว โปรแกรมยังสามารถแนบไฟล์วีดีโอ มาสร้างไฟล์ร่วมกันได้
ดังภาพที่ 13-15
ภาพที่ 13
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
71
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
ภาพที่ 14
ภาพที่ 15
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
72
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
13 .จากนั้นเป็นการปรับแต่งไฟล์วีดีโอที่จะทำ Effect เป็นการใส่แอนนิเมชั่นให้รูปภาพและไฟล์
วีดีโอ เพื่อให้ไฟล์วีดีโอมีความต่อเนื่องจากเหตุการณ์หนึ่งไปยังอีกเหตุการณ์หนึ่งมีความต่อเนื่อง กลม
กลืนกันมากกว่าการเปลี่ยนเป็นอีกเหตุการณ์แบบทันที เป็นการปรับแต่งภาพของช่วงนั้นให้ดูราบรื่นขึ้น
เมื่อเลือก Effect ที่ต้องการ แล้วใช้เมาส์คลิกลากลงไปวางระหว่างไฟล์ ดังภาพที่ 16
ภาพที่ 16
14. ในโปรแกรมมี Effect ต่างๆ ให้เลือกตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 17
ภาพที่ 17
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
73
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
15. Effect ระหว่างไฟล์ สามารถจับลากให้สั้นยาวได้ตามต้องการ แต่ต้องคอยปรับความยาว
ของภาพและไฟล์ด้วยตามลำดับ เนื่องจาก Effect เหล่านี้จะย่นความยาวของไฟล์โดยอัตโนมัติ เพื่อแทรก
แอนนิเมชั่น
16.เนื่องจากมี Effect มากมายให้เลือก แต่มิใช่ว่าจะใช้ทั้งหมด สามารถเลือก Effect ที่ใช้
งานบ่อย ไว้ในหมวดที่ฉันชื่นชอบ เพื่อเรียกใช้ได้สะดวกขึ้น ด้วยการ Right Click --> Add to My
Favorites ดังภาพที่ 18
ภาพที่ 18
17. จากนั้น Effect ที่ใช้ประจำ หรือใช้บ่อย ก็จะอยู่ในหมวดเดียวกัน ดังภาพที่ 19
ภาพที่ 19
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
74
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
18. หลังจากเพิ่ม Effect หมดแล้ว ก็ปรับแต่งความยาวของแต่ละไฟล์ตามต้องการ ดังภาพ
ที่ 20
ภาพที่ 20
19. Title เป็นการใส่ข้อความลงในวีดีโอ เป็นการใส่ข้อความต่างๆ ลงบนหน้าจอวีดีโอ
แอนนิเมชั่นข้อความที่มากับตัวโปรแกรมมีให้เลือกมากมาย สามารถเลือกแอนนิเมชั่นที่ต้องการ แล้ว
จับลากลงช่อง Text ดังภาพที่ 21
ภาพที่ 21
ค ลิก ที่ ไ ฟ ล์แ ล้ว เลื่ อ น ซ้า ย - ข ว า ด้ว ย ลูก ศ ร
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
75
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
20. Double Click ที่กล่องข้อความ เพื่อทำการแก้ไขปรับแต่งต่างๆ ดังภาพที่ 22
ภาพที่ 22
Double Click
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
76
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
ภาพที่ 23
21. ส่วนนี้คือการปรับตำแหน่งของกล่องข้อความ ดังภาพที่ 24
ภาพที่ 23
21. ส่วนนี้คือการปรับตำแหน่งของกล่องข้อความ ดังภาพที่ 24
ภาพที่ 24
22. ส่วนนี้คือการปรับแต่งฟอนต์ และ Effect ต่างๆ ของข้อความ ดังภาพที่ 25
ภาพที่ 25
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
77
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
23. การปรับแต่งแอนนิเมชั่นของกล่องข้อความ ในการแสดงผล ให้ติ๊กที่ Apply animation
เพื่อให้แสดงผลแอนนิเมชั่นของกล่องข้อความ ดังภาพที่ 26
ภาพที่ 26
24. ส่วนนี้คือการปรับแต่งเพิ่มเติม ของการแสดงผลแอนนิเมชั่น ดังภาพที่ 27
ภาพที่ 27
25. ในการแก้ไขข้อความ ให้ Double Click ที่กล่องข้อความที่หน้าจอ จึงสามารถเปลี่ยน
ข้อความได้ ดังภาพที่ 28
ภาพที่ 28
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
78
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
26. กล่องข้อความสามารถลากกำหนดเวลาสั้นยาวได้ตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 29
ภาพที่ 29
27. Audio การปรับแต่งไฟล์ออดิโอของวีดีโอ เป็นการปรับแต่งต่างๆ ให้กับไฟล์เสียง เช่น
ปรับเสียง หรือ Effect อื่นๆ เพิ่มเติมซึ่งสามารถศึกษาเพิ่มเติมต่อภายหลัง คลิ้กที่ไฟล์ออดิโอ
ดังภาพที่ 30
ภาพที่ 30
28. ในส่วนนี้คือการปรับแต่ง ส่วนของการแยกลำโพงซ้ายขวานั้นเหมาะกับการสร้างวีดีโอ จาก
ไฟล์วีดีโอที่มีการพากย์เสียงมากกว่าหนึ่งภาษา หรือไฟล์คาราโอเกะ สามารถปรับตรงส่วนนี้เพื่อเลือก
ภาษาเดียว หรือเลือกแค่เสียงคาราโอเกะดังภาพที่ 31
ภาพที่ 31
ปรับขนาดเสียง
ปรับแยกลำโพงซ้าย-ขวา
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
79
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
29. เมื่อเสร็จสิ้นการปรับแต่งและตัดต่อวิดีโอตามต้องการเรียบร้อยแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนสุดท้าย
ของการทำงานหรือการสร้างไฟล์หลังการตัดต่อ เรียกว่าเป็นขั้นตอนการ Share เป็นการกำหนดรูปแบบ
ลักษณะวิดีโอที่ต้องการจะนำไปใช้งานโดย คลิ้กที่ Share เพื่อสร้างไฟล์ ดังภาพที่ 32
ภาพที่ 32
30. เลือกรูปแบบไฟล์ที่ต้องการจะสร้าง ในกรณีของการสร้างไฟล์วีดีโอ สำหรับทำแผ่นวีซีดี
แนะนำให้เลือก mpeg2 ซึ่งเป็นไฟล์ชนิดเดียวกันกับ mpeg1 แต่คุณภาพรูปภาพจะชัดกว่า mpeg1
หนึ่งเท่าตัวหรือจะเลือกเป็น SVCD หรืออื่นๆ ก็ได้เช่นกัน ดังภาพที่ 33
ภาพที่ 33
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
80
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
31. หลังจากนั้นก็ปล่อยให้โปรแกรมเรนเดอร์ไฟล์วีดีโอ (สร้างไฟล์วีดีโอ) ในระหว่างนี้ ไม่ควร
เปิดโปรแกรมอื่นๆ มาใช้งาน เพื่อว่าจะได้ไฟล์ที่มีคุณภาพดีที่สุด ดังภาพที่ 34
ภาพที่ 34
32. เทคนิคการสร้างไฟล์วีดีโอ สามารถเพิ่มฉากหลังหรือการซ้อนวิดีโอ Overlay เป็นการซ้อน
วิดีโอที่ต้องการแสดงวิดิโอ 2 ไฟล์ในเวลาเดียวกันซึ่งสามารถนำวิธี Overlay ไปทำวิดีโอในรูปแบบต่างๆ
ได้อีกมากมายตามความคิดสร้างสรรค์ของเรา สำหรับการทำ Overlay ที่ทำกันมากที่สุดคือ Picture in
Picture เป็นการซ้อนวิดีโอหลักเล่นอยู่และก็จะมีวิดีโออยู่ในกรอบเล็กเล่นอยู่ด้วยตามตัวอย่างด้วยการ
แยกการแนบไฟล์ไว้สองบรรทัด โดยที่บรรทัดบนคือฉากหลัง บรรทัดล่างคือฉากหลัก ในการแนบไฟล์
ภาพหรือวีดีโอ มันอาจจะอยู่บนบรรทัดบนหมด เพียงแค่จับลากมาไว้บรรทัดล่าง ก็สามารถแยกได้ จาก
นั้นก็ตามปรับลำดับภาพต่างๆ ตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 35
ภาพที่ 35
ฉากหลัง
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
81
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
33. สำหรับฉากหลัง การเพิ่ม Effect จะเป็นดังเช่นด้านบนที่อธิบายไว้ แต่สำหรับฉากหลัก
การเพิ่มแอนนิเมชั่นจะไม่เหมือนกัน เริ่มแรกคือการปรับขนาดหน้าจอฉากหลัก ด้วยการคลิ้กที่หน้าต่าง
นั้นๆ แล้วลากขนาดตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 35
34. เมื่อปรับขนาดตามที่ต้องการแล้ว และปรับแต่งแอนนิเมชั่นอื่นๆ เสร็จสิ้นแล้ว และต้องการ
ให้ไฟล์อื่นๆ มีขนาดเดียวกัน ให้ Right Click ที่ไฟล์นั้นๆ แล้วเลือก Copy Attributes ดังภาพที่ 36
ภาพที่ 36
35. จากนั้นให้ Right Click ที่ไฟล์อื่นๆ แล้วเลือก Past Attributes เพื่อให้แสดงผล
แอนนิเมชั่นอย่างเดียวกัน ดังภาพที่ 37
ภาพที่ 37
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
82
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
36. ตรงส่วนนี้จะเป็นการปรับแอนนิเมชั่นของฉากหลัก ส่วนที่ติ๊กไว้ คือให้แสดงผลของ
การซูมรูปภาพ ดังภาพที่ 38
ภาพที่ 38
37. เมื่อเสร็จสิ้น ไฟล์วีดีโอที่ได้ ก็จะมีฉากหลังตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 39
ภาพที่ 39
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
83
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
สรุปได้ว่าโปรแกรม Ulead VideoStudio เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดีโอที่มีการใช้งานไม่ยากจนเกิน
ไป แม้ผู้ที่เริ่มใช้งานก็สามารถที่จะสร้างวีดีโอได้เหมือนกับผู้ที่มีประสบการณ์ตัดต่อวีดีโอมานาน โปรแกรม
นี้มีเครื่องมือต่างๆ สำหรับตัดต่อวีดีโออย่างครบถ้วน เริ่มตั้งแต่จับภาพจากกล้องเข้าคอมพิวเตอร์
ตัดต่อวีดีโอ ใส่ Effect ต่างๆ แทรกดนตรีประกอบ แทรกคำบรรยาย ไปจนถึงบันทึกวีดีโอที่ตัดต่อกลับ
ลงเทป, VCD, DVD หรือแม้กระทั่งเผยแพร่ผลงานทางเว็บ โปรแกรม Ulead VideoStudio มีการทำ
งานเป็นขั้นตอนที่ง่าย ตั้งแต่จับภาพ ตัดต่อไปจนถึงเขียนลงแผ่น นอกจากนี้แล้ว โปรแกรมยังมี Effect
ต่างๆ อีกมากมาย ไตเติ้ลสำเร็จรูปแบบมืออาชีพ รวมทั้งยังมีเครื่องมือที่ใช้สำหรับสร้างซาวนด์แทร็คอ
ย่างง่ายๆ อีกด้วย
***********************
เอกสารอ้างอิง
ดิเรก วงษ์วานิช. 2550. คู่มือหัดตัดต่อวิดีโอกับ Ulead VideoStudio 11 Plus.
กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
แนะนำโปรแกรม Ulead Studio. 2008. (Online). สืบค้นจาก : http://www.freebsd.sru.ac.th/
index.php/ulead-studio-9/19-2008-08-11-17-46-07 [21 ตุลาคม 2551]
วัฒนา ส่งสิงห์. 2549. หัดตัดต่อวิดีโอง่ายๆ ด้วย Ulead VideoStudio 10 Plus.
นนทบุรี : ไอดีซีฯ.
สอนตัดต่อโฮมวิดีโอ ด้วย Adobe Ulead Video Studio 11+. 2008. (Online).
สืบค้นจาก : http://www.zickr.com/software/adobe-ulead-video-studio-11/stat
[21 ตุลาคม 2551]การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรม
Ulead VideoStudio
ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตกล้องวีดีโอได้พัฒนาก้าวหน้าจนกลายมาเป็นกล้องวีดีโอแบบดิจิตอล
เป็นส่วนใหญ่ ผู้ใช้ส่วนใหญ่จึงหันมาใช้งานกล้องประเภทนี้กันมาก เนื่องจากมีราคาถูก ขนาด
กระทัดรัด และสะดวกต่อการถ่ายโอนภาพวีดีโอเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ทำให้โปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อ
และสร้างผลงานของวีดีโอมีมากขึ้น โดยโปรแกรม Ulead VideoStudio นั้น มีความสามารถที่หลากหลาย
เหมาะสำหรับการตัดต่อวีดีโอด้วยตนเองที่ไม่ซับซ้อน มีการแบ่งแยกขั้นตอนการทำงานอย่างชัดเจน
ตั้งแต่การดึงไฟล์วีดีโอออกจากกล้องวีดีโอ ไปจนถึงการตัดต่อและปรับแต่งวีดีโอ ซึ่งผลงานที่สร้างสามารถ
นำไปเขียนลงแผ่น VCD หรือ DVD แปลงเป็นไฟล์รูปแบบต่างๆ ได้ตามต้องการ
Ulead VideoStudio เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดีโอที่มีจุดเด่นในเรื่องการใช้งานที่ง่าย ไม่ยุ่งยาก
ซับซ้อน เนื่องจากโปรแกรมถูกออกแบบมาให้มีลำดับการทำงานที่เป็นขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบออก
มาเป็นแผ่น VCD หรือ DVD โดยมีขั้นตอนหลัก 7 ขั้นตอนดังนี้
1. Capture เป็นขั้นตอนของการจับภาพวีดีโอเข้ามาในเครื่อง ไม่ว่าจะเป็นการจับภาพจากกล้อง
ดิจิตอลวีดีโอผ่านการ์ด Fire Wire จับภาพจากกล้องอะนาล็อกวีดีโอผ่าน Capture Card หรือจะเป็น
การจับภาพผ่านกล้อง Web Cam ที่ต่อผ่าน USB Port (ถ้าไม่ต้องการนำภาพวีดีโอจากภายนอกเข้ามา
ใช้งานหรือมีไฟล์วีดีโออยู่แล้ว สามารถข้ามขั้นตอนนี้ได้)
2. Edit โปรแกรมจะให้ผู้ใช้ตัดต่อวีดีโอ รวมถึงการเรียงลำดับคลิปต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ
3. Effect เป็นขั้นตอนที่ผู้ใช้สามารถใส่ Effect ต่างๆ โดยคลิกเลือก Effect ที่จะใช้และ
ลากเอามาวางบนภาพ
4. Overlay โปรแกรมจะให้ผู้ใช้จัดการเกี่ยวกับ Overlay Track ซึ่งเป็นการซ้อนภาพเข้าด้วยกัน
*นักวิชาการอุดมศึกษา กลุ่มงานพัฒนาและเผยแพร่นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
วิษณุ เพชรประวัติ*
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
65
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
5. Title โปรแกรมจะให้ผู้ใช้ใส่ข้อความต่างๆ โดยการเลือกฉากที่ต้องการแล้วพิมพ์ข้อความ
ลงไป ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกใช้ Effect ตัวอักษรแบบต่างๆ ได้
6. Audio โปรแกรมจะให้ผู้ใช้จัดการเรื่องเสียงที่จะใส่ลงในวีดีโอในขั้นตอนนี้
7. Share เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการตัดต่อ ซึ่งโปรแกรมสามารถเขียนวีดีโอที่ผู้ใช้ตัดต่อให้ออก
มาเป็นไฟล์วีดีโอ เป็นแผ่น VCD หรือ แผ่น DVD ได้
นอกจากขั้นตอนต่างๆ ข้างต้นแล้ว โปรแกรม ยังมีคุณสมบัติเด่นให้ผู้ใช้สามารถสร้างและ
ออกแบบเมนูของ VCD หรือ DVD ได้ในตัว ในที่นี้จะกล่าวถึงการสร้าง VDO ภาพหรือ การทำวีดีโอ
โชว์ด้วย Ulead VideoStudio11 เป็นตัวอย่าง
ภาพที่ 1
1. เมื่อติดตั้งโปรแกรมแล้วก็เปิดการใช้งาน ดังภาพที่ 2
ภาพที่ 2
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
66
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
2. เลือกที่ VideoStudio Editor เพื่อสร้างไฟล์วีดีโอ ดังภาพที่ 3
ภาพที่ 3
3. ลักษณะโปรแกรมขณะใช้งาน ดังภาพที่ 4
ภาพที่ 4
4. รูปแบบการปรับแต่งไฟล์วิดีโอ ดังภาพที่ 5
ภาพที่ 5
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
67
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
5. จากนั้นให้ Right Click ที่ช่องแนบไฟล์ เพื่อเลือกไฟล์ภาพ หรือวีดีโอ ดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6
6. เลือกไฟล์ที่ต้องการใส่ในวีดีโอ สามารถลากเมาส์เพื่อเลือกทีละมากกว่าหนึ่งไฟล์ จากนั้นกด
Open ดังภาพที่ 7
ภาพที่ 7
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
68
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
7. หากต้องการใส่เพลงให้กับวีดีโอ ให้ Right Click แล้วเลือกแนบไฟล์ Audio ดังภาพที่ 8
ภาพที่ 8
8. เลือกเพลงที่ต้องการ แล้วกด Open ดังภาพที่ 9
ภาพที่ 9
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
69
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
9. ก็จะได้ ดังภาพที่10
ภาพที่ 10
10. เซฟไฟล์งานเป็นระยะๆ เพื่อว่าหากมีข้อขัดข้อง โปรแกรมไม่ทำงานก็สามารถเรียกงาน
เดิมกลับมาทำใหม่ได้ โดยไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ ดังภาพที่ 11
ภาพที่ 11
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
70
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
11. ไฟล์ที่ได้ จะเป็นนามสกุล .VSP เป็นไฟล์งานของโปรแกรม Ulead ดังภาพที่12
ภาพที่ 12
12. นอกจากไฟล์ภาพแล้ว โปรแกรมยังสามารถแนบไฟล์วีดีโอ มาสร้างไฟล์ร่วมกันได้
ดังภาพที่ 13-15
ภาพที่ 13
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
71
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
ภาพที่ 14
ภาพที่ 15
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
72
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
13 .จากนั้นเป็นการปรับแต่งไฟล์วีดีโอที่จะทำ Effect เป็นการใส่แอนนิเมชั่นให้รูปภาพและไฟล์
วีดีโอ เพื่อให้ไฟล์วีดีโอมีความต่อเนื่องจากเหตุการณ์หนึ่งไปยังอีกเหตุการณ์หนึ่งมีความต่อเนื่อง กลม
กลืนกันมากกว่าการเปลี่ยนเป็นอีกเหตุการณ์แบบทันที เป็นการปรับแต่งภาพของช่วงนั้นให้ดูราบรื่นขึ้น
เมื่อเลือก Effect ที่ต้องการ แล้วใช้เมาส์คลิกลากลงไปวางระหว่างไฟล์ ดังภาพที่ 16
ภาพที่ 16
14. ในโปรแกรมมี Effect ต่างๆ ให้เลือกตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 17
ภาพที่ 17
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
73
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
15. Effect ระหว่างไฟล์ สามารถจับลากให้สั้นยาวได้ตามต้องการ แต่ต้องคอยปรับความยาว
ของภาพและไฟล์ด้วยตามลำดับ เนื่องจาก Effect เหล่านี้จะย่นความยาวของไฟล์โดยอัตโนมัติ เพื่อแทรก
แอนนิเมชั่น
16.เนื่องจากมี Effect มากมายให้เลือก แต่มิใช่ว่าจะใช้ทั้งหมด สามารถเลือก Effect ที่ใช้
งานบ่อย ไว้ในหมวดที่ฉันชื่นชอบ เพื่อเรียกใช้ได้สะดวกขึ้น ด้วยการ Right Click --> Add to My
Favorites ดังภาพที่ 18
ภาพที่ 18
17. จากนั้น Effect ที่ใช้ประจำ หรือใช้บ่อย ก็จะอยู่ในหมวดเดียวกัน ดังภาพที่ 19
ภาพที่ 19
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
74
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
18. หลังจากเพิ่ม Effect หมดแล้ว ก็ปรับแต่งความยาวของแต่ละไฟล์ตามต้องการ ดังภาพ
ที่ 20
ภาพที่ 20
19. Title เป็นการใส่ข้อความลงในวีดีโอ เป็นการใส่ข้อความต่างๆ ลงบนหน้าจอวีดีโอ
แอนนิเมชั่นข้อความที่มากับตัวโปรแกรมมีให้เลือกมากมาย สามารถเลือกแอนนิเมชั่นที่ต้องการ แล้ว
จับลากลงช่อง Text ดังภาพที่ 21
ภาพที่ 21
ค ลิก ที่ ไ ฟ ล์แ ล้ว เลื่ อ น ซ้า ย - ข ว า ด้ว ย ลูก ศ ร
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
75
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
20. Double Click ที่กล่องข้อความ เพื่อทำการแก้ไขปรับแต่งต่างๆ ดังภาพที่ 22
ภาพที่ 22
Double Click
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
76
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
ภาพที่ 23
21. ส่วนนี้คือการปรับตำแหน่งของกล่องข้อความ ดังภาพที่ 24
ภาพที่ 23
21. ส่วนนี้คือการปรับตำแหน่งของกล่องข้อความ ดังภาพที่ 24
ภาพที่ 24
22. ส่วนนี้คือการปรับแต่งฟอนต์ และ Effect ต่างๆ ของข้อความ ดังภาพที่ 25
ภาพที่ 25
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
77
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
23. การปรับแต่งแอนนิเมชั่นของกล่องข้อความ ในการแสดงผล ให้ติ๊กที่ Apply animation
เพื่อให้แสดงผลแอนนิเมชั่นของกล่องข้อความ ดังภาพที่ 26
ภาพที่ 26
24. ส่วนนี้คือการปรับแต่งเพิ่มเติม ของการแสดงผลแอนนิเมชั่น ดังภาพที่ 27
ภาพที่ 27
25. ในการแก้ไขข้อความ ให้ Double Click ที่กล่องข้อความที่หน้าจอ จึงสามารถเปลี่ยน
ข้อความได้ ดังภาพที่ 28
ภาพที่ 28
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
78
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
26. กล่องข้อความสามารถลากกำหนดเวลาสั้นยาวได้ตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 29
ภาพที่ 29
27. Audio การปรับแต่งไฟล์ออดิโอของวีดีโอ เป็นการปรับแต่งต่างๆ ให้กับไฟล์เสียง เช่น
ปรับเสียง หรือ Effect อื่นๆ เพิ่มเติมซึ่งสามารถศึกษาเพิ่มเติมต่อภายหลัง คลิ้กที่ไฟล์ออดิโอ
ดังภาพที่ 30
ภาพที่ 30
28. ในส่วนนี้คือการปรับแต่ง ส่วนของการแยกลำโพงซ้ายขวานั้นเหมาะกับการสร้างวีดีโอ จาก
ไฟล์วีดีโอที่มีการพากย์เสียงมากกว่าหนึ่งภาษา หรือไฟล์คาราโอเกะ สามารถปรับตรงส่วนนี้เพื่อเลือก
ภาษาเดียว หรือเลือกแค่เสียงคาราโอเกะดังภาพที่ 31
ภาพที่ 31
ปรับขนาดเสียง
ปรับแยกลำโพงซ้าย-ขวา
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
79
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
29. เมื่อเสร็จสิ้นการปรับแต่งและตัดต่อวิดีโอตามต้องการเรียบร้อยแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนสุดท้าย
ของการทำงานหรือการสร้างไฟล์หลังการตัดต่อ เรียกว่าเป็นขั้นตอนการ Share เป็นการกำหนดรูปแบบ
ลักษณะวิดีโอที่ต้องการจะนำไปใช้งานโดย คลิ้กที่ Share เพื่อสร้างไฟล์ ดังภาพที่ 32
ภาพที่ 32
30. เลือกรูปแบบไฟล์ที่ต้องการจะสร้าง ในกรณีของการสร้างไฟล์วีดีโอ สำหรับทำแผ่นวีซีดี
แนะนำให้เลือก mpeg2 ซึ่งเป็นไฟล์ชนิดเดียวกันกับ mpeg1 แต่คุณภาพรูปภาพจะชัดกว่า mpeg1
หนึ่งเท่าตัวหรือจะเลือกเป็น SVCD หรืออื่นๆ ก็ได้เช่นกัน ดังภาพที่ 33
ภาพที่ 33
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
80
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
31. หลังจากนั้นก็ปล่อยให้โปรแกรมเรนเดอร์ไฟล์วีดีโอ (สร้างไฟล์วีดีโอ) ในระหว่างนี้ ไม่ควร
เปิดโปรแกรมอื่นๆ มาใช้งาน เพื่อว่าจะได้ไฟล์ที่มีคุณภาพดีที่สุด ดังภาพที่ 34
ภาพที่ 34
32. เทคนิคการสร้างไฟล์วีดีโอ สามารถเพิ่มฉากหลังหรือการซ้อนวิดีโอ Overlay เป็นการซ้อน
วิดีโอที่ต้องการแสดงวิดิโอ 2 ไฟล์ในเวลาเดียวกันซึ่งสามารถนำวิธี Overlay ไปทำวิดีโอในรูปแบบต่างๆ
ได้อีกมากมายตามความคิดสร้างสรรค์ของเรา สำหรับการทำ Overlay ที่ทำกันมากที่สุดคือ Picture in
Picture เป็นการซ้อนวิดีโอหลักเล่นอยู่และก็จะมีวิดีโออยู่ในกรอบเล็กเล่นอยู่ด้วยตามตัวอย่างด้วยการ
แยกการแนบไฟล์ไว้สองบรรทัด โดยที่บรรทัดบนคือฉากหลัง บรรทัดล่างคือฉากหลัก ในการแนบไฟล์
ภาพหรือวีดีโอ มันอาจจะอยู่บนบรรทัดบนหมด เพียงแค่จับลากมาไว้บรรทัดล่าง ก็สามารถแยกได้ จาก
นั้นก็ตามปรับลำดับภาพต่างๆ ตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 35
ภาพที่ 35
ฉากหลัง
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
81
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
33. สำหรับฉากหลัง การเพิ่ม Effect จะเป็นดังเช่นด้านบนที่อธิบายไว้ แต่สำหรับฉากหลัก
การเพิ่มแอนนิเมชั่นจะไม่เหมือนกัน เริ่มแรกคือการปรับขนาดหน้าจอฉากหลัก ด้วยการคลิ้กที่หน้าต่าง
นั้นๆ แล้วลากขนาดตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 35
34. เมื่อปรับขนาดตามที่ต้องการแล้ว และปรับแต่งแอนนิเมชั่นอื่นๆ เสร็จสิ้นแล้ว และต้องการ
ให้ไฟล์อื่นๆ มีขนาดเดียวกัน ให้ Right Click ที่ไฟล์นั้นๆ แล้วเลือก Copy Attributes ดังภาพที่ 36
ภาพที่ 36
35. จากนั้นให้ Right Click ที่ไฟล์อื่นๆ แล้วเลือก Past Attributes เพื่อให้แสดงผล
แอนนิเมชั่นอย่างเดียวกัน ดังภาพที่ 37
ภาพที่ 37
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
วารสารวิทยบริการ
82
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
36. ตรงส่วนนี้จะเป็นการปรับแอนนิเมชั่นของฉากหลัก ส่วนที่ติ๊กไว้ คือให้แสดงผลของ
การซูมรูปภาพ ดังภาพที่ 38
ภาพที่ 38
37. เมื่อเสร็จสิ้น ไฟล์วีดีโอที่ได้ ก็จะมีฉากหลังตามที่ต้องการ ดังภาพที่ 39
ภาพที่ 39
วารสารวิทยบริการ
ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๒
83
การสร้างสื่อวิดีโอภาพด้วยโปรแกรมฯ
วิษณุ เพชรประวัติ
สรุปได้ว่าโปรแกรม Ulead VideoStudio เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดีโอที่มีการใช้งานไม่ยากจนเกิน
ไป แม้ผู้ที่เริ่มใช้งานก็สามารถที่จะสร้างวีดีโอได้เหมือนกับผู้ที่มีประสบการณ์ตัดต่อวีดีโอมานาน โปรแกรม
นี้มีเครื่องมือต่างๆ สำหรับตัดต่อวีดีโออย่างครบถ้วน เริ่มตั้งแต่จับภาพจากกล้องเข้าคอมพิวเตอร์
ตัดต่อวีดีโอ ใส่ Effect ต่างๆ แทรกดนตรีประกอบ แทรกคำบรรยาย ไปจนถึงบันทึกวีดีโอที่ตัดต่อกลับ
ลงเทป, VCD, DVD หรือแม้กระทั่งเผยแพร่ผลงานทางเว็บ โปรแกรม Ulead VideoStudio มีการทำ
งานเป็นขั้นตอนที่ง่าย ตั้งแต่จับภาพ ตัดต่อไปจนถึงเขียนลงแผ่น นอกจากนี้แล้ว โปรแกรมยังมี Effect
ต่างๆ อีกมากมาย ไตเติ้ลสำเร็จรูปแบบมืออาชีพ รวมทั้งยังมีเครื่องมือที่ใช้สำหรับสร้างซาวนด์แทร็คอ
ย่างง่ายๆ อีกด้วย
***********************
เอกสารอ้างอิง
ดิเรก วงษ์วานิช. 2550. คู่มือหัดตัดต่อวิดีโอกับ Ulead VideoStudio 11 Plus.
กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
แนะนำโปรแกรม Ulead Studio. 2008. (Online). สืบค้นจาก : http://www.freebsd.sru.ac.th/
index.php/ulead-studio-9/19-2008-08-11-17-46-07 [21 ตุลาคม 2551]
วัฒนา ส่งสิงห์. 2549. หัดตัดต่อวิดีโอง่ายๆ ด้วย Ulead VideoStudio 10 Plus.
นนทบุรี : ไอดีซีฯ.
สอนตัดต่อโฮมวิดีโอ ด้วย Adobe Ulead Video Studio 11+. 2008. (Online).
สืบค้นจาก : http://www.zickr.com/software/adobe-ulead-video-studio-11/stat
[21 ตุลาคม 2551]

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น